ชื่อวิทยาศาสตร์ Averrhoa carambola L.
ชื่ิอวงศ์ OXALDACEAE
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
ไม้ต้นขนาดเล็ก ใบประกอบปลายใบคี่ เรียงสลับ ดอกสีม่วง ผลเป็นเหลี่ยม
สรรพคุณ
เปลือก แก้ไข้และแก้ท้องเสีย
ใบ ขับปัสสาวะ แก้เม็ดผดผื่น ห้ามเลือด แก้ปวด
ผล แก้ไอ ขับเสมหะแก้กระหายน้ำ แก้เลือดออกตามไรฟัน แก้บิด ลดอักเสบ บวม ขับนิ่ว ขับปัสสาวะ
ตำรับยา/วิธีใช้
ยาขับนิ่ว ใช้ผล ผสมกับสารส้ม หรือสุรากินแก้โรคนิ่ว
แก้ไข้ ขับระดู ขับปัสสาวะ ด้วยการนำใบมะเฟืองมาต้มผสมกับน้ำ
รักษากลาก เกลื้อน ด้วยการนำใบสดของมะเฟืองมาตำแล้วนำมาพอก
ลดอาการอักเสบ ช้ำบวม ด้วยการนำใบสดของมะเฟืองมาตำแล้วนำมาพอก
รักษาตุ่มอีสุกอีใสตามร่างกาย ด้วยการนำใบสดของมะเฟืองมาตำแล้วนำมาพอก
ดับพิษร้อนในร่างกาย เมื่อนำส่วนรากมะเฟืองมาต้มเป็นน้ำดื่ม
บรรเทาอาการปวดศีรษะ เมื่อนำส่วนรากมะเฟืองมาต้มเป็นน้ำดื่ม
บรรเทาอาการปวดข้อต่าง ๆ ตามร่างกาย เมื่อนำส่วนรากมะเฟืองมาต้มเป็นน้ำดื่ม
บรรเทาอาการปวดแสบในกระเพาะอาหาร เมื่อนำส่วนรากมะเฟืองมาต้มเป็นน้ำดื่ม
รักษาตุ่มอีสุกอีใสตามร่างกาย ด้วยการนำใบสดของมะเฟืองมาตำแล้วนำมาพอก
ดับพิษร้อนในร่างกาย เมื่อนำส่วนรากมะเฟืองมาต้มเป็นน้ำดื่ม
บรรเทาอาการปวดศีรษะ เมื่อนำส่วนรากมะเฟืองมาต้มเป็นน้ำดื่ม
บรรเทาอาการปวดข้อต่าง ๆ ตามร่างกาย เมื่อนำส่วนรากมะเฟืองมาต้มเป็นน้ำดื่ม
บรรเทาอาการปวดแสบในกระเพาะอาหาร เมื่อนำส่วนรากมะเฟืองมาต้มเป็นน้ำดื่ม
คุณค่าทางโภชนาการของผลมะเฟืองสด ต่อ 100 กรัม
-พลังงาน 31 กิโลแคลอรี
-คาร์โบไฮเดรต 6.73 กรัม
-น้ำตาล 3.98 กรัม
-เส้นใย 2.8 กรัม
-ไขมัน 0.33 กรัม
-โปรตีน 1.04 กรัม
-ลูทีนและซีแซนทีน 66 ไมโครกรัม
-วิตามินบี 1 0.014 มิลลิกรัม 1%
-วิตามินบี 2 0.016 มิลลิกรัม 1%
-วิตามินบี 3 0.367 มิลลิกรัม 2%
-วิตามินบี 5 0.391 มิลลิกรัม 8%
-วิตามินบี 6 0.017 มิลลิกรัม 1%
-วิตามินบี 9 12 ไมโครกรัม 3%
-โคลีน 7.6 มิลลิกรัม 2%
-วิตามินซี 34.4 มิลลิกรัม 41%
-วิตามินอี 0.15 มิลลิกรัม 1%
-ธาตุแคลเซียม 3 มิลลิกรัม 0%
-ธาตุเหล็ก 0.08 มิลลิกรัม 1%
-ธาตุแมกนีเซียม 10 มิลลิกรัม 3%
-ธาตุแมงกานีส 0.037 มิลลิกรัม 2%
-ธาตุฟอสฟอรัส 12 มิลลิกรัม 2%
-ธาตุโพแทสเซียม 133 มิลลิกรัม 3%
-ธาตุโซเดียม 2 มิลลิกรัม 0%
-ธาตุสังกะสี 0.12 มิลลิกรัม 1%
% ร้อยละของปริมาณแนะนำที่ร่างกายต้องการในแต่ละวันสำหรับผู้ใหญ่ (ข้อมูลจาก : USDA Nutrient database)
“ผู้ที่สุขภาพเป็นปกติรับประทานมะเฟืองได้ แต่อย่ารับประทานบ่อย เน้นรับประทานมะเฟืองหวาน ผู้ที่เป็นหรือมีความเสี่ยงต่อโรคไต ห้ามรับประทานเด็ดขาด”
อ้างอิง
https://medthai.com/มะเฟือง/
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น